ได้อะไรบ้างในการเรียนโปรแกรมPhotoshop
1. ได้รู้ถึงวิธีการเข้าโปรแกรม Photoshop
2. ขั้นตอนการเข้าโปรแกรม Photoshop มีขั้นตอนตังนี้
2.1 เข้าโปรแกรม Photoshop แล้วไปเลือกที่เมนู flie แล้วก็เลือก New จะขึ้นหน้าจอนี้ออกมาโดยที่ให้เราเหลือเมนูTools กับ Layers เท่านั้น เมนู Layers เป็นหัวใจสำคัญที่สุดในโปรแกรม Photoshop โดยถ้าเราหาเมนูนี้ไม่เจอให้เราไปคลิกไปที่เมนู window
ข้อมูลในเมนู new ประกอบไปด้วย
1. neme ให้เราใส่ข้อมูลที่เราต้องการตั้งชื่อ
2. preset size เป็นตัวขนาดให้เราเลื่อกว่าเราจะใช้กับกระดาษชนิดใดเช่นขนาด800x600เท่ากับpowerpoint หนึ่งหน้า
3. widht ขนาดความกว้าง Height ขนาดความสูง หน่วยถ้าเป็นเมตรย่อหน้าห้ามตั้งค่าสูง
4. Resotution ความละเอียด
5. Color Mode คือสีต่างในการทำงาน เช่น RGB Color คือแม่สีของแสง R สีแดง Gสีเขียว B สีน้ำเงิน / CMYK สำหรับเข้าโรงพิมพ์ Cสีฟ้า M สีม่วง Y สีเหลือง K สีดำ / Crayscale เป็นสีเทาหรือขาวดำ
การบันทึกข้อมูล
ไปที่เมนู Flie à save as à Flie mene ให้ตั้งชื่อ à Format นามสกุลของโปรแกรม นามสุกล PSD แก้ไขได้ ไม่รวมกัน ข้อเสีย คือ ไพล์ใหญ่ / JPEG แก้ไข้ไม่ได้ ข้อดี คือ ไพล์เล็ก
การพิมพ์ตัวอักษร
เวลาที่จะพิมพ์ตัวอักษรให้กดไปที่ตัว T และทุกครั้งที่พิมพ์ตัวอักษรเสร็จแล้วให้ให้กด Ø ทุกครั้งเพื่อที่จะทำรายการต่อไป
เมนูลัดที่ควรรู้
Ctrl T ย่อขยายวัตถุนั้น ๆ กลับหน้าหลังดึงย่อวัตถุ / Ctrl + เพิ่มของกระดาษ / Ctrl - การลดของกระดาษ
ทุกครั้งที่จะขยายให้กด shift ทุกครั้ง
รูปแบบในการทำข้อมูลดังภาพ
1. เข้าโปรแกรมแล้วเปิดที่New
เปิดรูปภาพที่เราต้องการจะเป็นพื้นหลัง
3. เลือกที่ตัวอักษรที่เป็นตัวทีเส้นปะ
4. คลิกที่รูปภาพพิมพ์ข้อความที่เราต้องการจะพิมพ์
5. เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วให้กดØ
6. เอาเมาล์ไปคลิกตัวอักษรที่เป็นเส้นปะแล้วนำไปวางไว้ที่ตัวกระดาษที่เราตั้งไว้
7. ถ้าจะทำให้เป็น2 ตัว edit copy edit peste
8. กด Ctrl T ย่อขยายวัตถุนั้น ๆ กลับหน้าหลังดึงย่อวัตถุ แล้วก็ทำให้ตัวอักษรกลับ
บรรยากาศของตลาดน้ำอัมพวา
วันพุธที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2551
วันพฤหัสบดีที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2551
หน่วยที่ 1 นวตกรรมและสารสนเทศ
ท่านมีแนวทางในการสร้างนวตกรรมอย่างไร
แนวทางในการสร้างนวตกรรมคือการที่จะทำชิ้นงานที่เราทำอยู่มาปรับปรุงใช้ให้เป็นประโยชน์มากกว่าเดิมแต่ในการปรับปรุงใช้ต้องมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้นกว่าเดิมโดยการปรับปรุงนั้นจะต้องไม่เกิดโทษภายหลังที่เรานำไปใช้แล้ว
เทคโนโลยีและนวตกรรมอะไรเกิดก่อนกัน
นวตกรรม คือ การเปลี่ยนแปลงสิ่งใหม่ๆขึ้นมาใช้แต่ถ้าเราใช้นวตกรรมใหม่ๆนั้นไปนานๆ นวตกรรมนั้นจะเปลี่ยนจากนวตกรรมไปเป็นเทคโนโลยีระหว่างเทคโนโลยีกับนวตกรรมสิ่งไหนที่เกิดก่อนกันนั้นขึ้นอยู่กับตัวเราเองว่าจะนำสิ่งไหนเป็นตัววัดว่าอะไรเกิดก่อนกันขึ้นอยู่กับเราว่าเราเอานวตกรรมเกิดก่อนก็ไม่ผิดเพราะเมื่อเราใช้นวตกรรมไปนานๆสิ่งนั้นก็จะเปลี่ยน แปลงเป็นเทคโนโลยีหรือถ้าเราเอาเทคโนโลยีขึ้นก่อนก็ได้เพราะว่าการนำมาให้ก็ก็เหมือนนวตกรรมดังนี้การที่เราจะว่านวตกรรมหรือเทคโนโลยีสิ่งใหนเกิดก่อนกันนั้นจะขึ้นอยู่กับคนๆนั้นจะยึดสิ่งให้เป็นตัวตั้งในการตอบคำถามนี้
วันพุธที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2551
การศึกษา
การศึกษา
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เมื่อกล่าวถึงคำว่า การศึกษา เราหมายความถึงทั้งการเรียน การสอน ทักษะเฉพาะ และสิ่งที่แม้จะจับต้องไม่ได้แต่เป็นสิ่งที่ลึกซึ้ง กล่าวคือ การถ่ายทอดความรู้ ทักษะการตัดสินที่ดี และภูมิปัญญา เป้าหมายพื้นฐานอีกประการหนึ่งของการศึกษา คือ การถ่ายทอดวัฒนธรรมจากรุ่นไปสู่รุ่น (ดู การขัดเกลาทางสังคม (socialization)) อีกความหมายหนึ่งของ การศึกษา คือ การพัฒนาคน ซึ่ง การพัฒนา หมายถึง การแก้ไขข้อบกพร่องให้ดีขึ้น / การเสริมข้อดีให้คงสภาพหรือดียิ่งขึ้น เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าการศึกษานั้นเป็นขบวนการที่ใช้เวลาทั้งชีวิต มีการวิจัยในเด็กที่อยู่ในท้องแม่ พบว่าเด็กนั้นมีการเรียนรู้ในครรภ์แม้แต่ก่อนแรกเกิด
การศึกษา คือ การทำลายสัญชาตญาณสัตว์ การศึกษาเพื่อยกจิตใจของมนุษย์ และเสนอว่า การศึกษาเป็นไปเพื่อธรรมาธิปไตยมิใช่ประชาธิปไตย
การศึกษา คือ การทำลายสัญชาตญาณสัตว์ การศึกษาเพื่อยกจิตใจของมนุษย์ และเสนอ (พุทธทาสภิกขุ. 2516 : 7 )
การศึกษาปฐมวัยเป็นการศึกษาที่จัดขึ้นเพื่อช่วยเหลือ ดูแล และสนับสนุนแก่ครอบครัวและผู้ปกครองที่สืบเนื่องมาจากปัญหาการทำงานของผู้ปกครอง ปัญหาครอบครัว และการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทำให้บริการการศึกษาต้องครอบคลุมการดูแลเด็กและการศึกษาตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 8 ปี ทั้งนี้การอนุบาลศึกษา ถูกผนวกไปเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาปฐมวัย ผู้ทำหน้าที่เกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัยจะต้องมีความรู้ทั้งทางด้านการศึกษาปฐมวัยพัฒนาการของเด็กและการเลี้ยงดูเด็กอย่าง ถูกต้อง โดยสอดคล้องกับงานและภาระกิจที่จัดขึ้นในสถานเลี้ยงเด็ก โรงเรียนเด็กเล็กหรือโรงเรียนอนุบาลที่มา : วารสารการศึกษาปฐมวัย ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 เมษายน 2542 หน้าที่ 17-24โดย : ผศ.ดร. กุลยา ตันติผลาชีวะ, สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เมื่อกล่าวถึงคำว่า การศึกษา เราหมายความถึงทั้งการเรียน การสอน ทักษะเฉพาะ และสิ่งที่แม้จะจับต้องไม่ได้แต่เป็นสิ่งที่ลึกซึ้ง กล่าวคือ การถ่ายทอดความรู้ ทักษะการตัดสินที่ดี และภูมิปัญญา เป้าหมายพื้นฐานอีกประการหนึ่งของการศึกษา คือ การถ่ายทอดวัฒนธรรมจากรุ่นไปสู่รุ่น (ดู การขัดเกลาทางสังคม (socialization)) อีกความหมายหนึ่งของ การศึกษา คือ การพัฒนาคน ซึ่ง การพัฒนา หมายถึง การแก้ไขข้อบกพร่องให้ดีขึ้น / การเสริมข้อดีให้คงสภาพหรือดียิ่งขึ้น เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าการศึกษานั้นเป็นขบวนการที่ใช้เวลาทั้งชีวิต มีการวิจัยในเด็กที่อยู่ในท้องแม่ พบว่าเด็กนั้นมีการเรียนรู้ในครรภ์แม้แต่ก่อนแรกเกิด
การศึกษา คือ การทำลายสัญชาตญาณสัตว์ การศึกษาเพื่อยกจิตใจของมนุษย์ และเสนอว่า การศึกษาเป็นไปเพื่อธรรมาธิปไตยมิใช่ประชาธิปไตย
การศึกษา คือ การทำลายสัญชาตญาณสัตว์ การศึกษาเพื่อยกจิตใจของมนุษย์ และเสนอ (พุทธทาสภิกขุ. 2516 : 7 )
การศึกษาปฐมวัยเป็นการศึกษาที่จัดขึ้นเพื่อช่วยเหลือ ดูแล และสนับสนุนแก่ครอบครัวและผู้ปกครองที่สืบเนื่องมาจากปัญหาการทำงานของผู้ปกครอง ปัญหาครอบครัว และการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทำให้บริการการศึกษาต้องครอบคลุมการดูแลเด็กและการศึกษาตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 8 ปี ทั้งนี้การอนุบาลศึกษา ถูกผนวกไปเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาปฐมวัย ผู้ทำหน้าที่เกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัยจะต้องมีความรู้ทั้งทางด้านการศึกษาปฐมวัยพัฒนาการของเด็กและการเลี้ยงดูเด็กอย่าง ถูกต้อง โดยสอดคล้องกับงานและภาระกิจที่จัดขึ้นในสถานเลี้ยงเด็ก โรงเรียนเด็กเล็กหรือโรงเรียนอนุบาลที่มา : วารสารการศึกษาปฐมวัย ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 เมษายน 2542 หน้าที่ 17-24โดย : ผศ.ดร. กุลยา ตันติผลาชีวะ, สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วันอาทิตย์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2551
วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2551
สิ่งที่ได้รับด้านเทศโนโลยี่เพื่อการสืบค้น
ความรู้ด้านวิชาภาษาอังกฤษ
สิ่งที่ได้รับด้านภาษาไทย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)